• Your Trusted 24 Hours Service Provider!

Category Archives: General

PSS Introduces Boron Diffusion Service

ในการจัดการกับความเสียหายการสึกกร่อนและรอยสึกต่างๆภายในปั๊ม ทีมซ่อมบำรุงมักเลือกใช้วิธีการซ่อมแซมด้วยการเคลือบผิวด้วย Tungsten carbide หรือ Stellite ที่พื้นผิว ซึ่งทาง PSS เองก็เคยใช้วิธีการลักษณะนี้มาหลายปีเช่นกัน แต่ตอนนี้ เรามีวิธีการที่เหนือกว่าในตลาดที่เราอยากแนะนำ

กระบวนการ Boron diffusion คือสร้างชั้นพื้นผิวที่แข็งและทนทานต่อการสึกหรอบนส่วนประกอบของปั๊ม ซึ่งสามารถทนต่อสภาพการแวดล้อมของการใช้งานที่รุนแรงและยังสามารถปรับปรุงประสิทธิภาพปั๊มโดยรวม

  • ชั้นของพื้นผิวจะมีความแข็งเป็นพิเศษและทนทานต่อการสึกหรอ โดยมีระดับความแข็งสูงถึง 1,500 HV แต่การเคลือบTungsten carbide มีค่าความแข็งประมาณ 1,000 HV
  • เนื่องจาก Boron diffusion เป็นกระบวนการแพร่กระจายของ Thermochemical vapor จึงสร้างสารประกอบโลหะกับพื้นผิวของวัสดุ ส่งผลให้เกิดทนทานต่อการสึกหรอและค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานดีขึ้นอย่างมากเมื่อเปรียบเทียบกับการเคลือบผิวแบบอื่นๆ
  • อีกทั้งยังทนต่อการกัดกร่อนได้ดีเยี่ยม แม้ในสภาพแวดล้อมการใช้งานที่มีความเป็นกรดหรือเกลือที่รุนแรง

การสร้างชั้นผิวของกระบวนการ Boron diffusion โดยทั่วไปมีความหนาที่ซึมลงไประหว่าง 10-300 ไมครอนจากผิวโลหะเดิม จึงเหมาะสำหรับชิ้นส่วนของปั๊มต่างๆ

ด้วยคุณสมบัติที่ยอดเยี่ยมเหล่านี้ Boron diffusion สามารถช่วยลดการสึกหรอ ยืดอายุการใช้งานของปั๊ม และปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงาน ส่งผลให้การใช้พลังงานลดลง รวมทั้งค่าซ่อมบำรุงรักษาก็ลดลงเช่นกัน

ทางเลือกที่ดีสำหรับการเลือกใช้ Boron diffusion คือกระบวนการที่มีการขัดถูที่รุนแรงและกัดกร่อนสูง เช่น ปั๊มสูบน้ำทะเล ปั๊มที่อยู่ใต้ reactor ปั๊มสารละลายของขี้เถ้าถ่านหิน ปั๊มเยื่อไม้และกระดาษ และปั๊มเหมืองแร่ ด้วยการบริการของเรามีความหลากหลาย และยังสามารถใช้ได้กับส่วนประกอบของปั๊ม รวมถึง ใบพัด เสื้อปั๊ม ปลอกเพลา บูชต่างๆ และ seals.

เลือก PSS สำหรับ Boron diffusion และสัมผัสกับประโยชน์ของความต้านทานการสึกหรอและการกัดกร่อนที่เพิ่มขึ้น ประสิทธิภาพที่ดีขึ้น และประสิทธิภาพของปั๊มที่เพิ่มขึ้น ติดต่อเราวันนี้เพื่อเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับบริการของเราและวิธีที่เราสามารถช่วยคุณเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องสูบน้ำ

Read More PSS Introduces Boron Diffusion Service

PSS Re-Engineers Pump Metallurgy

PSS recently overhauled an unsupported BB1 pump for which we had to supply completely re-designed pump components. The body of the cast iron pump was severely corroded due to galvanic corrosion. The metallurgy of the original pump was a combination of Superior and Inferior materials for the fluid pumped causing accelerated deterioration of the inferior materials.
The casing was cast iron, shafts were SS316, sleeves were SS304, throat bushings and impellers were BC7 Bronze.

The corroded casing fit bores had to be machined to a clean solid metal, PSS Engineering redesigned new oversized casing rings, impeller wear rings, and throat bushings to an upgraded material based upon reviewing the process conditions.
PSS Engineering concluded to standardize all metallurgy on various components including the impellers to SS 316, the Cast Iron casing had a protective coating applied.

After successfully overhauling and commissioning the complete pump, our customer ordered a complete set of spare parts from PSS, all machined in house in our Service facility in Rayong.
As there are an additional 6 pumps for this process, PSS will standardize all dimensions for all remaining pumps in the coming years so that all spare parts are interchangeable.

Read More PSS Re-Engineers Pump Metallurgy

PSS Re-Engineers Pump Metallurgy

เมื่อเร็ว ๆ นี้ PSS ได้รับงานซ่อมปั๊มชนิด BB1 ที่ไม่มีชิ้นส่วนอะไหล่สำหรับงานซ่อม ซึ่งเราต้องจัดหาส่วนและออกแบบส่วนประกอบของใหม่ทั้งหมด เสื้อปั๊มเหล็กหล่อมีการสึกกร่อนอย่างรุนแรง เนื่องจากการกัดกร่อนจากค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าของโลหะ มาเชื่อมต่อกันจะเกิดความต่างศักย์ไฟฟ้าขึ้น ทำให้เกิดการไหลของอิเล็กตรอน ระหว่างวัตถุทั้งสองหากทำให้การสูญเสียอิเล็กตรอนของวัตถุที่มีค่าความต่างศักย์ต่ำกว่า ทำให้วัสดุเกิดการกัดกร่อนเสื่อมสภาพเร็วขึ้น
เสื้อปั๊มเป็นโลหะเหล็กหล่อ, เพลาเป็นโลหะ SS316, ปลอกเพลาเป็นโลหะ SS304, throat bushings และใบพัดเป็น BC7 Bronze

ตำแหน่งสวมประกอบที่สึกกร่อน ได้รับการกลึงล้างผิวใหม่เพื่อเพิ่มความแข็งแรงและ ทาง PSS Engineering ได้ออกแบบ wear ring ที่เสื้อปั๊ม ที่มีขนาดใหญ่พิเศษใหม่, วงแหวนสวมใบพัด และ throat bushing เป็นวัสดุอัปเกรดใหม่โดยอิงจากการตรวจสอบสภาพของการใช้งาน
PSS Engineering ได้ข้อสรุปเพื่อกำหนดมาตรฐานทางโลหะวิทยาทั้งหมด ของส่วนประกอบต่างๆ รวมถึงใบพัดเป็น SS316 เสื้อปั๊มเป็นเหล็กหล่อที่มีการเคลือบผิว

หลังจากดำเนินการซ่อมและทดสอบเดินเครื่องปั๊มเสร็จสมบูรณ์แล้ว ลูกค้าของเราได้สั่งซื้อชิ้นส่วนอะไหล่ครบชุดเพิ่มเติมจาก PSS โดยการผลิตได้เกิดขึ้นเองในศูนย์บริการของเราที่จังหวัดระยอง
เนื่องจากยังมีปั๊มแบบเดียวกันเพิ่มอีก 6 ตัวสำหรับกระบวนการนี้ PSS จะกำหนดมาตรฐานและขนาดทั้งหมดสำหรับปั๊มที่เหลือในปีต่อๆ ไป เพื่อให้ชิ้นส่วนอะไหล่ทั้งหมดสามารถใช้ทดแทนกันได้

Read More PSS Re-Engineers Pump Metallurgy

PSS Scans First Steam Turbine

PSS Scans First Steam Turbine

        โรงกลั่นในประเทศไทยแห่งหนึ่ง กำลังเผชิญกับสถานการณ์ที่ยากลำบากในการจัดการดำเนินงานกับเครื่องอัดก๊าซรีไซเคิลที่มีอายุกว่า 35 ปี เนื่องจากความผิดปกติของตัวขับกังหันไอน้ำ กังหันไอน้ำแบบไม่ควบแน่นมาตฐาน API 612 นี้มีกำลังผลิตมากกว่า 2 เมกะวัตต์ หัวจ่ายไอน้ำ, โครงสร้าง, รวมถึงส่วนไอเสีย ทำมาจากวัสดุ A216 WCA 

        ในระหว่างการตรวจสอบตามรอบปกติ ทีมซ่อมบำรุงได้พบปัญหาการสึกกร่อนอย่างรุนแรงที่ด้านท่อออกไอเสีย ของกังหันไอนำ้ ซึ่งหลังจากการตรวจสอบโดยละเอียดเกี่ยวกับพื้นที่ที่ถูกกัดเซาะ ทีมซ่อมบำรุงพบว่าความหนาของท่อออกไอเสียสึกกร่อนไปเกือบ 60% ในบางพื้นที่ จากการคำนวณโดยอ้างอิงเกี่ยวกับอัตราการสึกกร่อนพบว่าโครงสร้างจะเสียหายภายในระยะเวลา 2-3 ปี, ซึ่งก่อนที่จะถึงรอบการซ่อมบำรุงครั้งใหญ่ในรอบ 5 ปี ทางโรงกลั่นไม่มีชิ้นส่วนโครงสร้างสำรอง ของคอมเพรสเซอร์ เเละกังหันไอน้ำเก็บไว้เลย เนื่องจากกังหันไอน้ำนี้เป็นรุ่นเก่าที่เลิกผลิตไปเเล้ว จึงได้รับการช่วยเหลือจาก OEM อย่างจำกัด

        นี่เป็นปัญหาใหญ่สำหรับโรงกลั่นเนื่องจากพวกเขาเสี่ยงที่จะทำให้เกิดผลกระทบไปที่หน่วยผลิตส่วนกลาง หากไม่สามารถหาทางออกได้ ทีมงานควบคุมคุณภาพเเละฝ่ายซ่อมบำรุง ได้ทำการติดต่อ PSS เพื่อร่วมกันหาวิธีแก้ไขปัญหานี้ ซึ่งวิธีแก้ปัญหาที่ PSS เสนอให้กับลูกค้าคือการเชื่อม-ซ่อมท่อออกไอเสีย อย่างไรก็ตาม ตัวเลือกนี้ถูกปฏิเสธโดยผู้ประกอบการโรงกลั่น เนื่องจากการซ่อมแซมและการซ่อมบำรุงนี้จะใช้เวลาอย่างน้อย 1-2 สัปดาห์. ซึ่งระยะเวลาสูงสุดสำหรับการซ่อมเเซมที่ทางโรงกลั่นมีเวลาให้เพียง 2-3 วัน

        ด้วยระยะเวลาสั้นๆนี้ ทางเลือกเดียวคือการเปลี่ยนกังหันไอน้ำมาตฐาน API ตัวใหม่ที่ให้ประสิทธิภาพเท่าเดิม โดยไม่ต้องเปลี่ยนท่อส่งไอน้ำเดิม, ฐานเครื่องจักร,  ระบบหล่อลื่น เเละอื่นๆ หรืออีกนัยหนึ่งคือ การทำ drop-in กังหันไอน้ำตัวใหม่นั่นเอง. ทีมโรงกลั่นมีความสนใจอย่างมากที่จะศึกษาตัวเลือกนี้เพิ่มเติม ขั้นตอนแรกในโครงการนี้คือการสแกนกังหันไอนำ้ทั้งหมดเพื่อให้แน่ใจว่าสามารถรักษาขนาดและฐานติดตั้งดั้งเดิมไว้ได้ ทีมโรงกลั่นเห็นด้วยกับคำแนะนำของเราและอนุญาตให้เราสแกนกังหันในขณะที่ยังทำงานอยู่

        PSS ใช้อุปกรณ์ Handyscan รุ่นล่าสุดในการทำงานนี้ นี่เป็นอีกตัวอย่างหนึ่ง ของวิธีที่ PSS ใช้ความสามารถทางวิศวกรรมและเทคโนโลยีระดับโลก เพื่อให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ที่เราตั้งไว้ว่า จะจัดการแก้ปัญหาเเละจัดการสินทรัพย์อย่างมีประสิธิภาพให้กับลูกค้าคนสำคัญของเรา. โครงการทั้งหมดเสร็จสิ้นภายใน 2 วัน และนับเป็นครั้งแรกที่ PSS สแกนกังหันไอน้ำ โครงการนี้ยังอยู่ในระหว่างดำเนินการและเราพร้อมที่จะก้าวไปสู่ขั้นตอนต่อไปในการจัดหากังหันน้ำแบบ drop-in 

Read More PSS Scans First Steam Turbine

PSS Scans First Steam Turbine

PSS Scans First Steam Turbine

        A refinery in Thailand was facing a major dilemma operating their 35 year old recycle gas compressor due to their failing steam turbine driver. The API 612 non condensing steam turbine had a rated output of more than 2 MW. The main steam chest, casing, and exhaust was of A216 WCA construction. 

        During a routine inspection, the maintenance team discovered severe erosion problems on the discharge nozzle of the turbine. After some detailed inspections on the eroded areas, the maintenance team found out that nearly 60% of nozzle thickness had eroded away in certain areas. A quick calculation on the erosion rates revealed that that the body would fail within a period of 2-3 years, a few years before their major 5 year turnaround. The refinery did not have any spare compressor trains nor a spare steam turbine casing. As the old steam turbine was obsolete, there was limited support from OEM. 

        This was a major problem for the refinery as they risked shutting down a major unit in their refinery if they could not find a solution. The reliability and maintenance team contacted PSS to explore various solutions to the problem. The immediate solution PSS proposed to customer was to weld-repair the discharge nozzle. However this option was quickly rejected by the refinery operators as the repair and subsequent overhaul would take a period of at least 1-2 weeks. The maximum time period for a quick shutdown at the refinery was 2-3 days.

        With such a short time period, the only alternative was to replace the entire API steam turbine with a new unit giving the same performance without changing any of the steam pipelines, base plate, lubrication system, etc. Or in other words – a drop-in steam turbine. The refinery team was very interested to explore this option further. The first step in this project was to scan the entire turbine to ensure that original dimensions and footprint can be maintained. The refinery team agreed with our suggestions and allowed us to scan the turbine while still in operation. 

       PSS utilized the latest generation Handyscan equipment to do this job. This is another example of how PSS has used world class engineering and technology to achieve our  stated vision of providing asset management solutions to our valued customers. The entire project was completed within 2 days and marks the first time PSS has scanned a steam turbine in our history. This project is still a work in progress and we are ready to move to the next step of providing a drop in turbine.

Read More PSS Scans First Steam Turbine